มารู้จักกับ PL SQL กันเถอะ  สร้างคำถาม

 2,011 view  หมวดหมู่ : การศึกษา คอมพิวเตอร์ ไอที  วันที่สร้าง : 28/05/2015

มารู้จักกับ PL SQL กันเถอะ

มารู้จักกับ PL/SQL กันเถอะ

PL ย่อมาจาก Procedural Language เป็นภาษาที่ Oracle พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาโปรแกรม
ในลักษณะ procedure ได้ โดยในขณะเดียวกันยังคงสามารถใช้คำสั่ง SQL ได้เช่นเดิม
สาเหตุที่ต้องพัฒนาภาษา PL/SQL ขึ้นมาใช้ เนื่องจากลักษณะคำสั่งภาษา SQL จะเป็นคำสั่งทีละคำสั่ง
เดียว แล้วให้ผลลัพธ์ทันที เช่น



โครงสร้างโปรแกรมภาษา PL/SQL
การเขียนโปรแกรมภาษา PL/SQL เราจะเขียนเป็น block แต่ละ block มีโครงสร้างดังนี้
[ DECLARE]
variable_declaration (Declaration section)
BEGIN
executable_statements (Executable section)
[EXCEPTION]
exception_handling
END ;

1. Declaration Section เริ่มต้นด้วย keyword DECLARE แล้วตามด้วยการประกาศตัวแปรต่างๆ ที่ต้องการใช้ใน block นั้น ส่วนนี้จะต้องเป็นส่วนแรกสุดของ block และจะใช้หรือไม่ก็ได้ โดยถ้าไม่ใช้ก็สามารถตัด keyword DECLARE ออกได้เลย
2. Executable code เริ่มต้นด้วย keyword BEGIN แล้วตามด้วยคำสั่ง PL/SQL ต่างๆ ที่ต้องการทำใน block นั้น และจบด้วย keyword END ส่วนนี้เป็นส่วนที่จำเป็นต้องมีใน PL/SQL block ทุก block
3. Exception Handler เป็นส่วนที่แทรกไว้ก่อน keyword END ใน PL/SQL block โดยเริ่มต้นด้วย keyword EXCEPTION แล้วตามด้วยคำสั่งในการตรวจสอบความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในโปรแกรมส่วนนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อต้องการตรวจสอบความผิดพลาดจากการทำงานในโปรแกรม ในกรณีที่ไม่ต้องการตรวจสอบความผิดพลาด จะไม่ใช้ส่วนนี้ก็ได้

หลักการเขียน PL/SQL blocks

การประกาศตัวแปรและการ handle exception เป็น optional ถ้าไม่ใช้ไม่ต้องมีก็ได้
1 คำสั่ง จะใช้กี่บรรทัดก็ได้ แต่จะต้องปิดด้วย semicolon ( ; ) เสมอ
สามารถเขียน PL/SQL block ซ้อนกันได้
ตัวแปรที่ประกาศภายใน block จะใช้งานได้เฉพาะใน block นั้นถ้าออกนอก block แล้วก็จะไม่รู้จัก
การ comment ทำได้ 2 วิธี
ใช้ - - นำหน้าข้อความที่ต้องการ comments เป็นการ comment ตั้งแต่จุดนั้นจนจบบรรทัด
ใช้ /* เปิด และ */ ปิดข้อความที่ต้องการ comment (ใช้ comment หลายบรรทัดได้
การ assign ค่าให้ตัวแปรใช้เครื่องหมาย :=
เครื่องหมายสำหรับเปรียบเทียบค่า ได้แก่ =
1. logical operator ได้แก่ AND, OR, NOT

2. เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณ ได้แก่ + , - , * , / , ** (ยกกำลัง)

3. Concatenation operator ได้แก่ ||







เครดิต : http://it.zomzaa.com/oracle/pl/sql/pl/sql.html


ถ้าชอบบทความนี้ กด Like เลย :มารู้จักกับ PL SQL กันเถอะ

 2,011 view  หมวดหมู่ : การศึกษา คอมพิวเตอร์ ไอที  วันที่สร้าง : 28/05/2015


 ร่วมแสดงความคิดเห็นได้ที่นี่




× แจ้งเตือน! เราสนับสนุนทุกความคิดเห็น ที่ ใช้ถ้อยคำสุภาพ ไม่ละเมิดผู้อื่น ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง

เนื้อหาที่เกี่ยวช้อง

  การทำงานของคอมพิวเตอร์ ถามเมื่อ (2013-04-30)   2,743 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 1 นาที)

  วิธีตั้งค่า plugin jdk บน IE ทำไงครับ ถามเมื่อ (2014-10-29)   2,690 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 2 นาที)

  UPS ต้องเสียบปลั๊กไฟทิ้งไว้มั๊ยครับ ถามเมื่อ (2015-06-08)   1,558 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 3 นาที)

  winrar เปิด 7z ไม่ได้ ถามเมื่อ (2019-12-11)   1,071 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 4 นาที)

  แนะนำการใช้งาน UPS หรือเครื่องสำรองไฟที่ถูกต้อง ถามเมื่อ (2015-06-08)   5,199 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)

  แนะนำ Notebook แรงๆ ไว้ทำงาน เล่นเกมส์ ในราคาเบาๆ สองหมื่นต้นๆ ถามเมื่อ (2013-08-09)   2,895 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)

  ระบบซอฟต์แวร์มีการเปลี่ยนแปลงกี่ครั้งและเปลี่ยนอย่างไร ถามเมื่อ (2011-11-23)   3,250 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)

  วิธีใช้ Internet Tweak 4 ถามเมื่อ (2013-09-25)   2,858 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)

  จงบอกรายชื่อผู้ที่ให้บริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส์มาอย่างน้อย 5 ชื่อ ถามเมื่อ (2018-07-13)   6,076 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)

  Progarmmerคนแรกของโลก ถามเมื่อ (2017-11-24)   2,534 views  (ดูล่าสุดเมื่อ 15 นาที)


 

บ้านเดียวกันดอทคอม เว็บถามตอบ รวมทุกเรื่องที่คุณอยากรู้ ให้ความรู้ ความบันเทิง มีสาระ
www.ban1gun.com